จังหวัดกระบี่
พื้นที่ดำเนินงานโครงการ
บัญชีทุนทางธรรมชาติ 

Integration of natural capital accounting in public and private sector policy and decision-making for sustainable landscapes


วัตถุประสงค์ของโครงการ

เพื่อบูรณาการทุนทางธรรมชาติสู่การจัดทำนโยบายและการดำเนินการของภาคเศรษฐกิจหลักทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ

เพื่อส่งเสริมการคุ้มครองและบรรเทาผลกระทบจากภาคการผลิตที่มีต่อความหลากหลายทางชีวภาพและการให้บริการของระบบนิเวศ

ขอบเขตและพื้นที่ดำเนินการ

โครงการฯ มุ่งเน้นใน 2 ภาคส่วน ได้แก่ ภาคการท่องเที่ยว และภาคการจัดการน้ำ และได้คัดเลือกจังหวัดกระบี่ เป็นพื้นที่ดำเนินโครงการ เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญในการเป็น แหล่งต้นน้ำลำธาร ครอบคลุมจนถึงพื้นที่ชายฝั่งและทะเล ซึ่งมีความสำคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ รวมถึงเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของประเทศ

การจัดทำบัญชีทุนทางธรรมชาติ หรือการประเมินทุนทางธรรมชาติ ด้วยเครื่องมือดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ต่างๆ ดังต่อไปนี้

เพื่อวิเคราะห์มูลค่าของทุนทางธรรมชาติที่นำมาใช้ประโยชน์

เพื่อสร้างแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ที่เกื้อกูลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อการใช้ประโยชน์จากนิเวศบริการและความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืน

จังหวัดกระบี่เป็นแหล่งต้นน้ำธรรมชาติสำคัญแห่งหนึ่งของประเทศ มีทั้งแม่น้ำและลำน้ำสาขาต่างๆ ที่ไหลสู่ทะเลอันดามัน พื้นที่บริเวณแหล่งน้ำลำธารครอบคลุมจนถึงพื้นที่ชายฝั่งและทะเล ล้วนมีความสำคัญอย่างมากต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ทำให้กระบี่กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของประเทศไทย กระบี่จึงเป็นจังหวัดที่ต้องอาศัยการบริการของระบบนิเวศ (ecological services) เพื่อใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศและธรรมชาติอย่างยั่งยืน 

การบริการระบบนิเวศในจังหวัดกระบี่ แบ่งออกเป็น 3 บทบาท 

Provisioning and cultural services

บริการด้านการเป็นแหล่งผลิตและทางวัฒนธรรม 

คือ การให้บริการวัตถุดิบในการผลิต อุปโภคและบริโภค เช่น เป็นแหล่งอาหาร แหล่งสมุนไพร ไม้ใช้สอย เป็นต้น ส่วนบริการทางวัฒนธรรมเกี่ยวข้องกับกิจกรรมสันทนาการ สุนทรียภาพ การพักผ่อน ความรู้ความเข้าใจ คุณค่าทางศาสนาและจิตวิญญาณ หรือความหลากหลายทางวัฒนธรรม 

Regulating services

บริการด้านการควบคุมกลไกของระบบ 

คือ การควบคุมกระบวนการของระบบนิเวศตามทางธรรมชาติ เช่น การควบคุมระบบภูมิอากาศ การควบคุมการไหลของน้ำ เป็นต้น

Supporting services

บริการด้านการสนับสนุน

คือ กระบวนการที่สนับสนุนบริการอื่นๆ เช่น การสังเคราะห์แสงของพืช หรือการหมุนเวียนธาตุอาหาร

กรอบในการจัดทำบัญชีทุนทางธรรมชาติพื้นที่กระบี่จึงมุ่งเน้นภาคการท่องเที่ยว และภาคการจัดการน้ำ

กรอบในการจัดทำบัญชีทุนทางธรรมชาติพื้นที่กระบี่จึงมุ่งเน้นภาคการท่องเที่ยว และภาคการจัดการน้ำ

จังหวัดกระบี่

ตัวอย่างข้อมูลปัจจุบันของทรัพยากรธรรมชาติ

ตัวอย่างข้อมูลปัจจุบันของทรัพยากรธรรมชาติ

01

seagrass

หญ้าทะเล

หญ้าทะเลมีบทบาทหน้าที่สำคัญต่อระบบนิเวศอย่างมาก ทั้งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย อนุบาลตัวอ่อน แหล่งหากิน และแหล่งหลบซ่อนศัตรูของสัตว์ทะเลหลายชนิด นอกจากนี้ยังช่วยลดอัตราการพังทลายของชายฝั่ง และยังมีส่วนช่วยในการกรองและปรับปรุงคุณภาพน้ำอีกด้วย 

จังหวัดกระบี่เป็นหนึ่งในจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีพื้นที่หญ้าทะเลจำนวนมาก มีพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเลรวม 34,236 ไร่ จำนวน 12 สายพันธุ์ ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้ำตื้นและแพร่กระจายได้ในหลายพื้นที่ 

ข้อมูลปี 2565 พบว่า จังหวัดกระบี่มีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 21,724 ไร่ เพิ่มขึ้น 4,339 ไร่ เมื่อเทียบกับข้อมูลในปี 2564 ซึ่งมีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 17,325 ไร่ โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้นโดยเฉพาะบริเวณอ่าวน้ำเมา เกาะสี่บอยา บ้านบ่อเมือง-ปากคลองกะละแซะ และบ้านเตาถ่าน-อ่าวท่าเลน ส่วนพื้นที่ที่มีแนวโน้มคงที่บริเวณอ่าวนาง (คลองม่วง-หาดนพรัตน์ธารา) อ่าวไร่เลย์ อ่าวกระบี่ หมู่เกาะลันตา และเกาะดำฮก-เขื่อนขวัญ 

01

seagrass

หญ้าทะเล

หญ้าทะเลมีบทบาทหน้าที่สำคัญต่อระบบนิเวศอย่างมาก ทั้งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย อนุบาลตัวอ่อน แหล่งหากิน และแหล่งหลบซ่อนศัตรูของสัตว์ทะเลหลายชนิด นอกจากนี้ยังช่วยลดอัตราการพังทลายของชายฝั่ง และยังมีส่วนช่วยในการกรองและปรับปรุงคุณภาพน้ำอีกด้วย 

จังหวัดกระบี่เป็นหนึ่งในจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีพื้นที่หญ้าทะเลจำนวนมาก มีพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเลรวม 34,236 ไร่ จำนวน 12 สายพันธุ์ ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้ำตื้นและแพร่กระจายได้ในหลายพื้นที่ 

ข้อมูลปี 2565 พบว่า จังหวัดกระบี่มีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 21,724 ไร่ เพิ่มขึ้น 4,339 ไร่ เมื่อเทียบกับข้อมูลในปี 2564 ซึ่งมีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 17,325 ไร่ โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้นโดยเฉพาะบริเวณอ่าวน้ำเมา เกาะสี่บอยา บ้านบ่อเมือง-ปากคลองกะละแซะ และบ้านเตาถ่าน-อ่าวท่าเลน ส่วนพื้นที่ที่มีแนวโน้มคงที่บริเวณอ่าวนาง (คลองม่วง-หาดนพรัตน์ธารา) อ่าวไร่เลย์ อ่าวกระบี่ หมู่เกาะลันตา และเกาะดำฮก-เขื่อนขวัญ 

01

seagrass

หญ้าทะเล

หญ้าทะเลมีบทบาทหน้าที่สำคัญต่อระบบนิเวศอย่างมาก ทั้งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย อนุบาลตัวอ่อน แหล่งหากิน และแหล่งหลบซ่อนศัตรูของสัตว์ทะเลหลายชนิด นอกจากนี้ยังช่วยลดอัตราการพังทลายของชายฝั่ง และยังมีส่วนช่วยในการกรองและปรับปรุงคุณภาพน้ำอีกด้วย 

จังหวัดกระบี่เป็นหนึ่งในจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีพื้นที่หญ้าทะเลจำนวนมาก มีพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเลรวม 34,236 ไร่ จำนวน 12 สายพันธุ์ ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้ำตื้นและแพร่กระจายได้ในหลายพื้นที่ 

ข้อมูลปี 2565 พบว่า จังหวัดกระบี่มีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 21,724 ไร่ เพิ่มขึ้น 4,339 ไร่ เมื่อเทียบกับข้อมูลในปี 2564 ซึ่งมีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 17,325 ไร่ โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้นโดยเฉพาะบริเวณอ่าวน้ำเมา เกาะสี่บอยา บ้านบ่อเมือง-ปากคลองกะละแซะ และบ้านเตาถ่าน-อ่าวท่าเลน ส่วนพื้นที่ที่มีแนวโน้มคงที่บริเวณอ่าวนาง (คลองม่วง-หาดนพรัตน์ธารา) อ่าวไร่เลย์ อ่าวกระบี่ หมู่เกาะลันตา และเกาะดำฮก-เขื่อนขวัญ 

01

หญ้าทะเล

หญ้าทะเลมีบทบาทหน้าที่สำคัญต่อระบบนิเวศอย่างมาก ทั้งเป็นแหล่งที่อยู่อาศัย อนุบาลตัวอ่อน แหล่งหากิน และแหล่งหลบซ่อนศัตรูของสัตว์ทะเลหลายชนิด นอกจากนี้ยังช่วยลดอัตราการพังทลายของชายฝั่ง และยังมีส่วนช่วยในการกรองและปรับปรุงคุณภาพน้ำอีกด้วย 

จังหวัดกระบี่เป็นหนึ่งในจังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามันที่มีพื้นที่หญ้าทะเลจำนวนมาก มีพื้นที่ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งหญ้าทะเลรวม 34,236 ไร่ จำนวน 12 สายพันธุ์ ซึ่งเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณชายฝั่งน้ำตื้นและแพร่กระจายได้ในหลายพื้นที่ 

ข้อมูลปี 2565 พบว่า จังหวัดกระบี่มีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 21,724 ไร่ เพิ่มขึ้น 4,339 ไร่ เมื่อเทียบกับข้อมูลในปี 2564 ซึ่งมีพื้นที่หญ้าทะเลรวม 17,325 ไร่ โดยรวมมีแนวโน้มดีขึ้นโดยเฉพาะบริเวณอ่าวน้ำเมา เกาะสี่บอยา บ้านบ่อเมือง-ปากคลองกะละแซะ และบ้านเตาถ่าน-อ่าวท่าเลน ส่วนพื้นที่ที่มีแนวโน้มคงที่บริเวณอ่าวนาง (คลองม่วง-หาดนพรัตน์ธารา) อ่าวไร่เลย์ อ่าวกระบี่ หมู่เกาะลันตา และเกาะดำฮก-เขื่อนขวัญ 

02

wetlands

สถานการณ์ทรัพยากรน้ำ

กระบี่เป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติสำคัญหลายแห่ง ข้อมูลจากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ (พ.ศ. 2565) ระบุว่าแหล่งน้ำในจังหวัดกระบี่ได้แก่ แม่น้ำ คลอง หนองบึง หนองน้ำ อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก สระ/บ่อ/ลำห้วย และอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง รวมประมาณ 354 แห่ง 

สถานการณ์การขาดแคลนน้ำและความแห้งแล้งในจังหวัดกระบี่ พบพื้นที่พื้นที่ประมาณร้อยละ 90 มีปัญหาภัยแล้งในระดับต่ำ พื้นที่บางพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณชายฝั่งทะเลไม่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้ง นอกจากนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกระบี่มีความเสี่ยงต่ำที่จะต้องเผชิญกับสถานการณ์น้ำท่วม

02

สถานการณ์ทรัพยากรน้ำ

กระบี่เป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติสำคัญหลายแห่ง ข้อมูลจากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ (พ.ศ. 2565) ระบุว่าแหล่งน้ำในจังหวัดกระบี่ได้แก่ แม่น้ำ คลอง หนองบึง หนองน้ำ อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก สระ/บ่อ/ลำห้วย และอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง รวมประมาณ 354 แห่ง 

สถานการณ์การขาดแคลนน้ำและความแห้งแล้งในจังหวัดกระบี่ พบพื้นที่พื้นที่ประมาณร้อยละ 90 มีปัญหาภัยแล้งในระดับต่ำ พื้นที่บางพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณชายฝั่งทะเลไม่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้ง นอกจากนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกระบี่มีความเสี่ยงต่ำที่จะต้องเผชิญกับสถานการณ์น้ำท่วม

02

wetlands

สถานการณ์ทรัพยากรน้ำ

กระบี่เป็นจังหวัดที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติสำคัญหลายแห่ง ข้อมูลจากสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกระบี่ (พ.ศ. 2565) ระบุว่าแหล่งน้ำในจังหวัดกระบี่ได้แก่ แม่น้ำ คลอง หนองบึง หนองน้ำ อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก สระ/บ่อ/ลำห้วย และอ่างเก็บน้ำขนาดกลาง รวมประมาณ 354 แห่ง 

สถานการณ์การขาดแคลนน้ำและความแห้งแล้งในจังหวัดกระบี่ พบพื้นที่พื้นที่ประมาณร้อยละ 90 มีปัญหาภัยแล้งในระดับต่ำ พื้นที่บางพื้นที่โดยเฉพาะบริเวณชายฝั่งทะเลไม่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้ง นอกจากนี้พื้นที่ส่วนใหญ่ในจังหวัดกระบี่มีความเสี่ยงต่ำที่จะต้องเผชิญกับสถานการณ์น้ำท่วม

03

coral reef

แนวปะการัง

จังหวัดกระบี่มีแนวปะการังส่วนใหญ่กระจายอยู่ตามเกาะต่างๆ โดยมีสภาพความสมบูรณ์ของแนวปะการังที่หลากหลาย เช่น สถานภาพของแนวปะการังบริเวณเกาะพีพีเลมีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนแนวปะการังบริเวณเกาะลันตาใหญ่ยังคงมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สภาพแนวปะการังบริเวณเกาะปูมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง สาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพของแนวปะการัง คือกิจกรรมจากการประมงที่ส่งผลให้เกิดขยะปกคลุมแนวปะการัง การทอดสมอ ตะกอนที่เพิ่มขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปะการังฟอกขาว การทิ้งขยะ และการปล่อยน้ำเสีย เป็นต้น

03

coral reef

แนวปะการัง

จังหวัดกระบี่มีแนวปะการังส่วนใหญ่กระจายอยู่ตามเกาะต่างๆ โดยมีสภาพความสมบูรณ์ของแนวปะการังที่หลากหลาย เช่น สถานภาพของแนวปะการังบริเวณเกาะพีพีเลมีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนแนวปะการังบริเวณเกาะลันตาใหญ่ยังคงมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สภาพแนวปะการังบริเวณเกาะปูมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง สาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพของแนวปะการัง คือกิจกรรมจากการประมงที่ส่งผลให้เกิดขยะปกคลุมแนวปะการัง การทอดสมอ ตะกอนที่เพิ่มขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปะการังฟอกขาว การทิ้งขยะ และการปล่อยน้ำเสีย เป็นต้น

03

coral reef

แนวปะการัง

จังหวัดกระบี่มีแนวปะการังส่วนใหญ่กระจายอยู่ตามเกาะต่างๆ โดยมีสภาพความสมบูรณ์ของแนวปะการังที่หลากหลาย เช่น สถานภาพของแนวปะการังบริเวณเกาะพีพีเลมีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนแนวปะการังบริเวณเกาะลันตาใหญ่ยังคงมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สภาพแนวปะการังบริเวณเกาะปูมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง สาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพของแนวปะการัง คือกิจกรรมจากการประมงที่ส่งผลให้เกิดขยะปกคลุมแนวปะการัง การทอดสมอ ตะกอนที่เพิ่มขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปะการังฟอกขาว การทิ้งขยะ และการปล่อยน้ำเสีย เป็นต้น

03

แนวปะการัง

จังหวัดกระบี่มีแนวปะการังส่วนใหญ่กระจายอยู่ตามเกาะต่างๆ โดยมีสภาพความสมบูรณ์ของแนวปะการังที่หลากหลาย เช่น สถานภาพของแนวปะการังบริเวณเกาะพีพีเลมีแนวโน้มดีขึ้น ส่วนแนวปะการังบริเวณเกาะลันตาใหญ่ยังคงมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สภาพแนวปะการังบริเวณเกาะปูมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลง สาเหตุหลักของการเสื่อมสภาพของแนวปะการัง คือกิจกรรมจากการประมงที่ส่งผลให้เกิดขยะปกคลุมแนวปะการัง การทอดสมอ ตะกอนที่เพิ่มขึ้น รวมถึงสถานการณ์ปะการังฟอกขาว การทิ้งขยะ และการปล่อยน้ำเสีย เป็นต้น

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อาคารทิปโก้ ทาวเวอร์ 2 ชั้นที่ 8 เลขที่ 118/1 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โทร 02-265-6689

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อาคารทิปโก้ ทาวเวอร์ 2 ชั้นที่ 8 เลขที่ 118/1 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โทร 02-265-6689

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อาคารทิปโก้ ทาวเวอร์ 2 ชั้นที่ 8 เลขที่ 118/1 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โทร 02-265-6689

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

อาคารทิปโก้ ทาวเวอร์ 2 ชั้นที่ 8 เลขที่ 118/1 ถนนพระราม 6 แขวงพญาไท เขตพญาไท กรุงเทพฯ

โทร 02-265-6689